« เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2023, 12:56:45 PM »
Non-Phthalate PlasticizerNon-Phthalate Plasticizer, Phthalate Free Plasticizer, Eco-Plasticizer, นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์, พาทาเลตฟรีพลาสติไซเซอร์, อีโคพลาสติไซเซอร์
นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์ เป็นพลาสติไซเซอร์หลักสำหรับพลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด์ (PVC) ที่มีประสิทธิภาพที่ดีเมื่อเปรียบเทียบกับ dioctyl phthalate (DOP) ที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบันมีข้อดีคือทนความร้อนทนเย็นการระเหยยาก
โดยทั่วไป Non-Phthalate Plasticizer, Phthalate Free Plasticizer, Eco-Plasticizer, นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์, พาทาเลตฟรีพลาสติไซเซอร์, อีโคพลาสติไซเซอร์ เรียกโดยย่อว่า DOTP หรือ DEHT เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตร C6H4 (CO2C8H17)
Non-Phthalate Plasticizer เป็นพลาสติไซเซอร์ที่ไม่ใช่ phthalate ซึ่งเป็นตัวทำละลายของกรดเทเรฟทาลิกและ 2-ethylhexanol แบบแยกแขนง ของเหลวหนืดไม่มีสีที่ใช้สำหรับการทำให้พลาสติกพีวีซีอ่อนตัวเป็นที่ทราบกันดีว่ามีความคล้ายคลึงทางเคมีกับสารพาทาเลตที่ใช้งานทั่วไปเช่น DEHP และ DINP แต่ไม่มีแรงกดดันด้านลบ มีคุณสมบัติในการทำให้เป็นพลาสติกที่ดีมากและอาจใช้แทน DEHP และ DINP ได้โดยตรงในหลาย ๆ การใช้งาน และยังใช้ในน้ำมันหล่อลื่นคุณภาพสูงหรือสารหล่อลื่นสำหรับสีเฟอร์นิเจอร์และการตกแต่งภายในการเคลือบและเครื่องมือที่มีความแม่นยำสารเติมแต่งไนโตรวานิชน้ำยาปรับผ้านุ่มโพลีเอสเตอร์เอไมด์ฟิล์มยืดสองแกนงานฝีมือพลาสติกฟิล์มถุงเก็บพลาสมา ฯลฯ เป็นพลาสติไซเซอร์อเนกประสงค์
สามารถสอบถาม ข้อมูลสินค้าเพิ่มเติมได้ที่
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด
Thai Poly Chemicals Co., Ltd.
36/1 หมู่ที่ 9 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000
โทรศัพท์ 034496284, 034854888
มือถือ 0861762992, 0824504888
อีเมลล์ polychemicals888@gmail.com
ไลน์ไอดี thaipoly888
Non-Phthalate Plasticizer
Phthalate Free Plasticizer
Eco-Plasticizer
Dioctyl Terephthalate
DOTP Plasticizer
Non-Phthalate
Phthalate Free
นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์
พาทาเลตฟรีพลาสติไซเซอร์
อีโคพลาสติไซเซอร์
พลาสติไซเซอร์ไร้สารพาทาเลต
พลาสติไซเซอร์ปลอดสารพทาเลต
ไดออกทิลเทเรพาทาเลต
ดีโอทีพีพลาสติไซเซอร์
น้ำมันดีโอทีพี
ปลอดสารพาทาเลต
ไร้สารพาทาเลต
นอนพาทาเลต
พาทาเลตฟรี
นอนพทาเลตพลาสติไซเซอร์
พทาเลตฟรีพลาสติไซเซอร์
พลาสติไซเซอร์ไร้สารพทาเลต
พลาสติไซเซอร์ปลอดสารพทาเลต
ไดออกทิลเทเรพทาเลต
ปลอดสารพทาเลต
ไร้สารพทาเลต
นอนพทาเลต
พทาเลตฟรี
BY PKSN 001 AAA 2023
Phthalate Free Plasticizer, Non-Phthalate Plasticizer, Eco-Plasticizer, DOTP non phthalate plasticizer เป็นพลาสติไซเซอร์อเนกประสงค์ที่ถือว่าปลอดภัยกว่า plasticizers ortho-phthalate เนื่องจากมีคุณสมบัติทางพิษวิทยาที่ยอดเยี่ยม เทเรฟทาเลตไม่แสดงการแพร่กระจายของเอนไซม์ในตับแบบเพอรอกซิโซมอย่างที่ ortho-phthalates บางชิ้นแสดงให้เห็นในงานวิจัยหลายชิ้น และมีการใช้ในการใช้งานเช่นการอัดขึ้นรูปการรีดผ้าการฉีดขึ้นรูปการขึ้นรูปการขึ้นรูปการจุ่มการปั้นโคลนและการเคลือบ
non phthalate plasticizer พีวีซี ไร้สารพาทาเลต (PVC Non Phthalate) คุณสมบัติพิเศษ สามารถใช้เป็นวัตถุดิบ สำหรับอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น ของเล่นเด็ก เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ ชิ้นส่วนรถยนต์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
Non-Phthalate Plasticizer, Phthalate Free Plasticizer, Eco-Plasticizer เป็นสารกลุ่มพาทาเลต (phthalate)
Non-Phthalate พีวีซี Non Phthalate สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรม ของเล่นเด็ก เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์
พีวีซีไร้สารพาทาเลต , พีวีซี ไร้สารพาทาเลต (PVC Non Phthalate) สารพาทาเลต (Phthalate)คือ สารเคมี Plasticizer ที่ใช้กันมากในผลิตภัณฑ์พลาสติกประเภทพีวีซี พาทาเลต ที่เป็นโดยใช้เป็นสารที่ทำให้เกิดความความอ่อนตัวในเนื้อพลาสติก ดังนั้นผลิตภัณฑ์พลาสติกพีวีซีที่มีความยืดหยุ่น หรืออ่อนตัวได้ (Soft Vinyl Products)มักจะมีสารพาทาเลตผสมอยู่ในเนื้อพลาสติกในปริมาณมากและเป็น ที่นิยมใช้ กันอย่างแพร่หลายในกลุ่มผลิตภัณฑ์ต่างๆ อาทิเช่น ใช้ทำภาชนะใส่อาหาร บรรจุภัณฑ์ เช่น ฟิล์มยืดห่ออาหาร ถุง ซอง กระเป๋าพลาสติก
Non-Phthalate Plasticizer ใช้เป็นส่วนผสมทำ เฟอร์นิเจอร์ เช่น แผ่นพีวีซีลายไม้ เสื่อน้ำมัน พลาสติกปูโต๊ะ หนังเทียม
นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์ใช้เป็นส่วนผสมทำ เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น ท่อสำหรับระบาย ถุงใส่เลือด ของเด็กเล็ก เช่น ขวดนม ของเล่น
วัสดุก่อสร้าง เช่น สายไฟ สายเคเบิล แผ่นกระเบื้องไวนิล ผ้าใบ เป็นต้น
Non-Phthalate, Phthalate Free, นอนพทาเลต, ปลอดสารพทาเลต, ไร้สารพทาเลต, พทาเลตฟรี, น้ำมันดีโอพี, น้ำมันดีไอเอ็นพี, น้ำมันดีโอทีพี, น้ำมันดีบีพี, น้ำมันอีพีโอ, พลาสออยส์, พทาเลต, พลาสติไซเซอร์, DOP, DINP, DOTP, DBP, EPO, ESBO, CPW, PLASTOIL, PLASTICIZER, PHTHALATE, NONPHTHALATE
พลาสติไซเซอร์ คือ สารเติมแต่ง (additive) ที่ใส่ลงในกระบวนการผลิตพลาสติกเพื่อทำให้มีสมบัติเปลี่ยนไปคือ มีความอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่นสูง ทนต่อสภาวะความเป็นกรดด่าง ทนต่ออุณหภูมิสูง สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย ทั้งในอุตสาหกรรมอาหารและยา เครื่องมือทางการแพทย์ ของเล่นสำหรับเด็ก เป็นต้น โดยสารเหล่านี้จะไม่ทำปฏิกิริยากับพลาสติก
Plasticizer, พลาสติไซเซอร์, Solftener, สารช่วยให้อ่อนตัว
Non-Phthalate Plasticizer, Phthalate Free Plasticizer, Eco-Plasticizer
พลาสติไซเซอร์ (plasticizers) เป็นสารที่ใส่ในโพลิเมอร์ (polymer) หรือผลิตภัณฑ์พลาสติกเพื่อลดจุดหลอมที่ทำให้เกิดการไหล (flexing temperature) ของพลาสติกทำให้เม็ดพลาสติกมีความยืดหยุ่นและอ่อนนุ่มขึ้น สะดวกต่อการดึง รีด ฉาบ หรือหล่อแบบ และยังเป็นตัวรักษาความอ่อนนุ่มไม่ให้เสียไปโดยง่าย อีกทั้งยังมีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้าทนต่อกรดด่าง น้ำมันและผงซักฟอก โดยจะใส่ประมาณ 20-40% โดยน้ำหนัก พลาสติไซเซอร์จึงมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติกอย่างยิ่ง โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมพลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride, PVC) ซึ่งเป็นพลาสติกที่นำไปทำประโยชน์ได้มากมาย เช่น ภาชนะบรรจุอาหาร ฟิล์มห่ออาหาร เครื่องมือแพทย์ เช่น ถุงบรรจุเลือด น้ำเกลือ สายยางที่ต่อกับเครื่องมือแพทย์, รองเท้า, กระเป๋า, เสื้อผ้า, กระเบื้องยางปูพื้น, สายไฟ, เทปพันสายไฟ, ท่อน้ำ, แท็งก์เก็บสารเคมีและอื่น ๆ โดยที่มีการใช้พลาสติไซเซอร์ในอุตสาหกรรมพลาสติก PVC ถึง 65% ของปริมาณการใช้พลาสติไซเซอร์ทั้งหมด ผู้ที่เริ่มใช้พลาสติไซเซอร์ในทางอุตสาหกรรมคนแรก คือ Hyatt Brothers ในราว ค.ศ.1870 เมื่อเขาผสมแคมเฟอร์ (camphor) กับไนโตรเซลลูโลส (nitrocellulose) ต่อมาไตรครี-ซิลฟอสเฟต (tricresyl phosphate) ก็ถูกนำมาใช้เป็นพลาสติไซเซอร์ ตามด้วยพทาเลทเอสเทอร์ (phthalate esters)
ชนิดของพลาสติไซเซอร์
พลาสติไซเซอร์สามารถแบ่งเป็น
1. โมโนเมอริคพลาสติไซเซอร์ (monomeric plasticizers) มีอยู่หลายกลุ่ม ได้แก่
- กลุ่มพทาเลทเอสเทอร์ เป็นกลุ่มที่ใช้เป็นพลาสติไซเซอร์มากที่สุด เป็นสารประกอบอะโรมาติกที่มีหมู่คาร์บอกซิเลท 2 หมู่ มีลักษณะเป็นของเหลว มีจุดเดือดสูงและความดันไอต่ำ เป็นสารที่เสถียรและละลายในไขมันได้ดี พทาเลทเอสเทอร์ที่ผลิตในอุตสาหกรรมมาจากการทำปฏิกิริยาระหว่างพทาลิกแอนไฮไดร์ (phthalic anhydride) กับแอลกอฮอล์ โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) เช่น กรดซัลฟูริค หรือกรดพาราโทลูอีนซัลโฟนิค พทาเลทเอสเตอร์ที่ใช้เป็นพลาสติไซเซอร์ เช่น
· ไดเมทิลพทาเลท (dimethyl phthalate, DMP)
· ไดเอทิลพทาเลท (diethyl phthalate, DEP)
· ไดนอร์มัวลิวทิลพทาเลท (di-n bytyl phthalate, DBP)
· บิวทิลเบนซิลพทาเลท (butylbenzyl phthalate, BBP)
· ไดทูเอทิลเฮซิลพทาเลท (di-(2-ethylhexyl) phthalate, DOP(1))
· ไดนอร์มัลออกทิลพทาเลท (di-n-octyl phtghalate, DOP(2))
· ไดไอโซโนนิลพทาเลท (diisononyl phthalate, DINP)
- กลุ่มอดิเพท (adipates) และอซีเลท (azelates) ผลิตจากกรดอดิพิค (adipic acid)หรือกรดอซีเลอิคกับแอลกอฮอล์ เช่น ไดทูเอทิลเฮซิลอดิเพท (di-2-ethylhexyl adipate, DOA), ไดไอโซเดซิลอดิเพท (diisodecyl adipate, DIDA), และไดนอร์มัลออกทิลเดซิลอดิเพท (di-n-octhldecyl adipate, DNODA) ตัวที่สำคัญที่สุด คือ DOA ซึ่งองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาอนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์ที่บรรจุอาหาร
ส่วนกลุ่มอซีเลทนั้น เช่น ไดทูเอทิลเฮซิลอซีเลท (di-2-ethylhexyl azelate, DOZ), ไดไอโซออกทิลอซีเลท (diisooctyl azelate, DIOZ) และไดเฮกซิลอซีเลท (dihexyl azelate, DHZ) ซึ่งเป็นตัวที่องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาอนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์ที่บรรจุอาหารเช่นกัน (octyl diphenyl phosphate)
- กลุ่มฟอสเฟต มีออกทิลไดเฟนิลฟอสเฟต (octyl diphenyl phosphate) ตัวเดียวเท่านั้นที่องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา อนุญาตให้ใช้ในผลิตภัณฑ์ที่บรรจุอาหาร
โพลีเมอริคพลาสติไซเซอร์ (polymeric plasticizers) ได้จากปฏิกิริยาระหว่างกรดไดเบซิค (dibasic acid) เช่น กรดอดิพิค หรือ กรดอซีเลอิคกับไกคอล (glycol) เช่น โพรไพลีนไกคอล (propylene glycol) จะได้พลาสติไซเซอร์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงถึง 20 เท่าของชนิดโมโนเมอร์ริค และจะมีโอกาสหลุดจากพลาสติกได้น้อยกว่าที่อุณหภูมิสูง ๆ และยังทนต่อการละลายของน้ำมันและตัวทำละลาย ส่วนราคาของโพลีเมอริคพลาสติไซเซอร์นั้นจะสูงกว่าพวกพทาเลทเอสเตอร์ประมาณ 1.5-2 เท่า
พลาสติไซเซอร์ คือ สารเติมแต่ง (additive) ที่ใส่ลงในกระบวนการผลิตพลาสติกเพื่อทำให้มีสมบัติเปลี่ยนไปคือ มีความอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่นสูง ทนต่อสภาวะความเป็นกรดด่าง ทนต่ออุณหภูมิสูง สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย ทั้งในอุตสาหกรรมอาหารและยา เครื่องมือทางการแพทย์ ของเล่นสำหรับเด็ก เป็นต้น โดยสารเหล่านี้จะไม่ทำปฏิกิริยากับพลาสติกแต่จะไปแทรกอยู่ระหว่างโมเลกุลของพลาสติก ทำให้แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลอ่อนลง พลาสติไซเซอร์ที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายชนิด เช่น สารกลุ่มแธลเลต (phthalate) สารกลุ่มอะดิเพต (adipate) สารกลุ่มมาลีเอต (maleate) และน้ำมันพืชอิพ็อกซิไดซ์ (epoxidized vegetable oils) เป็นต้น โดยทั่วไปพลาสติกที่ใช้ทำปะเก็นฝาปิดขวดแก้ว จะเป็นพลาสติกประเภทโพลีไวนิลคลอไรด์ (polyvinyl chloride: PVC) ซึ่งจะเติมสารพลาสติไซเซอร์ประมาณร้อยละ 25 – 45 โดยน้ำหนัก โดยพลาสติไซเซอร์ ส่วนใหญ่เป็นสารในกลุ่ม แธลเลต และกลุ่มน้ำมันพืชอิพ๊อกซิไดซ์มากที่สุด สารที่เป็นปัญหาได้แก่ ไดเอทิลเฮกซิลแธลเลต (di-(2-ethylhexyl) phthalate, DEHP) ไดนอร์มอลบิวทิลแธลเลต (di-(n-butyl) phthalate, DnBP, DBP) ไดไอโซโนนิลแธลเลต (diisononyl phthalate, DINP) และน้ำมันถั่วเหลืองอิพ๊อกซิไดซ์ (epoxidized soybean oils, ESBO)
Non-Phthalate Plasticizer, Phthalate Free Plasticizer, Eco-Plasticizer,
นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์, พาทาเลตฟรีพลาสติไซเซอร์, อีโคพลาสติไซเซอร์
Keyword: Non-Phthalate Plasticizer, Phthalate Free Plasticizer, Eco-Plasticizer, นอนพาทาเลตพลาสติไซเซอร์, พาทาเลตฟรีพลาสติไซเซอร์, อีโคพลาสติไซเซอร์