ThaiFranchiseCenter Webboard

ThaiFranchiseCenter Webboard - Info Center

* สมัครสมาชิกเว็บบอร์ด ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ฟรี! *
หน้าแรก | เปิดร้านค้าฟรี! | โปรโมชั่นแฟรนไชส์ | ร้านหนังสือออนไลน์ | สนใจลงโฆษณา

ทางเว็บไซต์ ThaiFranchiseCenter.com ไม่มีส่วนรับผิดชอบกับข้อความต่างๆในเว็บบอร์ดแต่อย่างใด
    ไม่ว่าจะเป็นการซื้อ-ขาย-เช่า-เซ้ง หรือ อื่นๆ (ผู้ซื้อ หรือ ผู้ขาย กรุณาใช้วิจารณญาณในการติดต่อทางธุรกิจ)


โรคอ้วนลงพุง ไม่ใช่แค่ความอ้วนธรรมดา เป็นสภาวะที่ไขมันสะสม


ฟูโก้เพียวใน ทางการแพทย์เรียกโรคนี้ว่า Metabolic syndrome เสี่ยงต่อการเป็นโรคแทรกซ้อน เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอด เลือด และยังทำให้เป็นโรคเบาหวาน 2 ประเภท ไขมันที่พุงอันตรายกว่าส่วนอื่นเพราะว่า ไขมันตรงส่วนนั้นๆมากเกินไปถือว่าไม่ดีทั้งนั้น แต่ช่วงท้องจะสลายตัวเป็น กรดอิสระ ทำให้กระแสเลือดทำงานผิดปกติ โดยกรดชนิดนี้เข้าไปยับยั้งการเผาผลาญกลูโคส ที่กล้ามเนื้อ ทำให้เกิดสภวาะดื้อต่ออินซูลิน อาจทำให้หลอดเลือดอุดตันได้เลยทีเดียว คน อ้วนจะมีฮอร์โมน adiponectin ในกระแสเลือดลดลง ทำให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน เป็นตัวทำให้เกิดโรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดและโรคหัวใจ ภาวะการดื้อต่ออินซูลิน ยังทำให้เกิดไขมันสะสมในเนื้อตับ เพราะกรดไขมันที่มาจากพุงจะเข้าตับโดยตรง
      ถ้าเกิดไขมันอิสระมากจนเกิดไปจะส่งผลให้ตับอักเสบ ดังนั้นการลงพุงจะทำให้เกิดโรคหัวใจ เกี่ยวกับระบบไหลเวียนเลือดได้ ฟูโก้เพียวเราจะรู้ได้ไงว่าเรามีพุง ดูจากรอบเอวเป็นตัวบ่งบอกว่าเราอยู่ในสภาวะโรคอ้วนหรือป่าวจะสังเกิดได้อย่างชัดเจนง่ายเลยแค่ไปลองชั่งน้ำหนักดูว่าเราน้าหนักมากน้อยแค่ไหนแล้วลองเอาไปคำนวณ วัดสำหรับคนเอเชีย เมื่อเราชี่งแล้วเราจะสามารถวินิจฉัยได้เลยว่าใครจัดอยู่ในกลุ่มโรคอ้วนลงพุงบ้างจะใช้หลักในการวัดดังนี้
      1.เอาสายวัดเอวดูว่าเรามีรอบเอวที่เท่าไหร่ เส้นรอบเอวของผู้ชายตั้งแต่ 36 นิ้วขึ้นไป สำหรับผู้หญิงจะตั้งแต่ 32 นิ้วขึ้นไป
      2.มีระดับ ไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือดมากกว่า 150 มก./ดล.
      3.วัดระดับไขมันโดย วัดระดับ HDL คอเลสเตอเรล น้อยกว่า40มก./ดล. ในผู้ชาย หรือน้อยกว่า 50 มก./ดล.ในผู้หญิง
      4.การวัดคาวมดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ ความดันโลหิตมากกว่า 130/85 มม. ปรอท
หรือรับประทานยาลดความดันโลหิตอยู่
      5.การวัดระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารมากกว่า 100 มก./ดล. ผู้ที่มีความเสี่ยงกับปัจจัยข้อที่ 3 ตามเกณฑ์ข้างต้น ผู้ที่มีความเสี่ยงจะมีอัตราการเกิดของโรคหัวใจมากกว่าคนปกติถึง 2 เท่า ผู้ที่มีความเสี่ยงกับปัจจัยข้อที่ 4 ตามเกณฑ์ข้างต้น ผู้ที่มีความเสี่ยงจะมีอัตราการเกิดของโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่าคนปกติถึง 3 เท่า แล้วจะมีผลต่อการทำให้เกิดโรคเบาหวานถึง 24 เท่าเลยที่เดียว
      พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงสำคัญอื่นๆ มากมายที่ส่งผลให้เกิด Metabolic syndrome อาทิ
เพราะว่าอายุเพิ่มขึ้นการเสื่อมของร่างกายก็จะเพิ่มขึ้นทำให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นสูงมากกว่าวัยรุ่น พบว่าคนผิวดำจะมีโอกาสพบโรคมากกว่า คนที่อ้วนก็จะมีความเสี่ยงมากว่าคนผ่อม
และถ้าครอบครัวเป็นโรคเบาหวานเราจะมีโอกาสเป็นโรคนี้สูง และยังมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคง่าย ลดความอ้วนเพื่อลดโอกาสเกิดโรค
      สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิต เช่น การกิน การออกกำลังกาย ลดการดื่มสุรา ตรวจสุขภาพเป็นประจำ และควบคุมน้ำตาล บางคนอาจจำเป็นต้องใช้ยาในการความคุมร่วมด้วย เป้าหมายเพื่อการลดไขมัน และเพิ่มไขมันที่มีประโยชน์เข้าไปในร่างกาย การเปลี่ยนพฤติกรรมทีละเล็กทีละน้อย ฟูโก้เพียวทำจนเป็นความเคยชิน จะทำให้ช่วยลดโอกาสการเกิดโรค และยังเป็นเกราะป้อนกันโรคได้อีกมากมาย ร่างกายที่ดีต้องเริ่มด้วยตัวเราเอง